วันศุกร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553

การวืจัยในชั้เรียน

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง
การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมทักษะ
ด้านการฟัง การมีวินัย จากการเล่านิทานและเกม
ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 / 2







จัดทำโดย
นางสาววิลัยลักษณ์ ทรัพย์เงิน
ภาคเรียนที่ 1 / 2550

คำนำ

งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การจัดประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมทักษะด้านการฟัง การมีวินัย จากการเล่านิทาน และเล่นเกม จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาทักษะทางด้านการฟัง การมีวินัย ของนักเรียน
และสร้างเสริมพัฒนาการเด็กทุกด้าน ให้มีพัฒนาการที่พึงประสงค์ เป็นคุณลักษณะทางด้านพฤติกรรมที่ช่วยให้สามารถ ควบคุมตนเอง และปฏิบัติตนตามกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นการฝึก การฟัง และการมีวินัย ให้พัฒนา และส่งผลให้เด็ก ในวัย 5 – 6 ปี ได้เข้าใจบทบาท และความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของบุคคล และสิ่งแวดล้อม มากขึ้น รวมทั้งยังเป็นแนวทางให้กับเพื่อนครู
ผู้ที่สนใจใช้แก้ปัญหานักเรียนในลักษณะเดียวกันนี้ต่อไป หรือปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้เหมาะสมได้อีกด้วย



ผู้จัดทำ
นางสาววิลัยลักษณ์ ทรัพย์เงิน
ตุลาคม 2550









ชื่องานวิจัย การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมทักษะด้านการฟัง การมีวินัย
จากการเล่านิทานและเล่นเกม ชั้นอนุบาลปีที่ 3 / 2 โรงเรียนรุ่งโรจน์ศึกษา

ชื่อผู้วิจัย นางสาววิลัยลักษณ์ ทรัพย์เงิน

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา นางนวลจันทร์ แก่นสาร


บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อฝึกพื้นฐานทักษะการฟัง การมีวินัย จากกิจกรรมเสริมประสบการณ์ โดยการเล่านิทานและเล่นเกม เพื่อสร้างเสริมพัฒนาการเด็กทุกด้าน ทั้งด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา จากตัวละครในนิทานที่เป็นตัวแบบที่หล่อหลอม
พฤติกรรมและบุคลิกภาพของเด็ก ให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ส่วนการเล่นเกมนั้น ส่งเสริมพฤติกรรมของเด็กทางด้านสังคม เช่น ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การแบ่งปัน การร่วมมือ พฤติกรรม
การช่วยเหลือ ทำให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะทางด้านสังคมที่หลากหลาย เด็กได้รับความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน จากแผนจัดประสบการณ์หลักสูตรสถานศึกษา / หลักสูตรการจัดการศึกษา ของโรงเรียนรุ่งโรจน์ศึกษา
จากการวิจัยพบว่านักเรียนมีพัฒนาการทางด้านร่างกายจากการเล่านิทานอยู่ในระดับ
ปานกลาง จากการเล่นเกมอยู่ในระดับดี ส่วนด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม จากการเล่านิทานอยู่
ในระดับดี จากการเล่นเกมอยู่ในระดับดี และด้านสติปัญญาจากการเล่านิทานอยู่ในระดับ
ปานกลาง จากการเล่นเกมอยู่ในระดับดี จะสังเกตได้ว่านักเรียนจะมีพัฒนาการจากการเล่นเกมสูงกว่าการเล่านิทาน ซึ่งเด็กวัยนี้ส่วนมากจะชอบการเล่นเกม มากกว่าการนั่งฟังนิทาน ซึ่งใช้ระยะเวลาที่เท่ากัน





สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ………………………………………………………………………………………. 1
สารบัญ ………………………………………………………………………………………... 2
สารบัญ ………………………………………………………………………………………… 3

บทที่ 1 บทนำ ………………………………………………………………………………… 4
1.1 ความเป็นมาและสภาพปัญหา ………………………………………………… 4
1.2 กรอบแนวคิดในการวิจัย ……………………………………………………… 4
1.3 วัตถุประสงค์ ………………………………………………………………….. 5
1.4 ผลที่คาดหวัง ………………………………………………………………….. 5
1.5 ระยะเวลาในการดำเนินงาน …………………………………………………… 5
1.6 การดำเนินการ ………………………………………………………………… 5
1.7 ตัวแปรที่ศึกษา ………………………………………………………………… 5
1.8 ขอบเขตการวิจัย ………………………………………………………………. 6
1.9 นิยามศัพท์ …………………………………………………………………….. 6
1.10 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ …………………………………………………… 7

บทที่ 2 ทฤษฎี ………………………………………………………………………………… 8
2.1 ทฤษฏีการฟัง ………………………………………………………………….. 8
2.2 ทฤษฎีการมีวินัย ………………………………………………………………… 8

บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย ........................................................................................................ 10
3.1 วิธีการดำเนินการวิจัย …………………………………………………………. 10
3.2 นวัตกรรม / เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ………………………………………… 11
3.3 เหตุผลในการเลือกใช้นวัตกรรม ……………………………………………… 11
3.4 ส่วนประกอบของนวัตกรรม …………………………………………………. 11
3.5 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ……………………………………………………... 11
3.6 กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย ………………………………………………… 11
สารบัญ ( ต่อ )
หน้า
3.7 กลุ่มตัวอย่าง …………………………………………………………………... 11
3.8 การดำเนินการทดสอบจากการปฏิบัติจริง ……………………………………. 11

บทที่ 4 ผลการวิจัย ………………………………………………………………………….. 12
4.1 วิเคราะห์ผล …………………………………………………………………. 12
4.2 ด้านร่างกาย …………………………………………………………………. 12
4.3 ด้านอารมณ์ สังคม จิตใจ …………………………………………………… 12
4.4 ด้านสติปัญญา ………………………………………………………………. 12

บทที่ 5 สรุปผล
5.1 สรุปผลการวิจัย …………………………………………………………….. 14
5.2 ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………….. 14
5.4 แบบประเมิน ………………………………………………………………. 15
5.5 สารบัญภาพ ………………………………………………………………... 21









บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเป็นมา และสภาพปัญหา

จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้เป็นครูประจำชั้น และครูผู้สอนในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 / 2 ประจำปีการศึกษา 2550 ได้พบปัญหาว่า นักเรียนในชั้นอนุบาล 3 / 2 ยังขาดทักษะด้านการฟัง และการมีระเบียบวินัย สังเกตได้จากการที่นักเรียนจะแย่งกัน ไม่ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ต้องการเป็นจุดเด่น เป็นที่มาของห้องเรียนที่ขาดระเบียบวินัย ซึ่งเป็นผลต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมภายหน้า
เนื่องจากสภาพสังคมทุกวันนี้ มีการแข่งขันกันมากขึ้น จึงทำให้คนส่วนมากเกิดความเห็น
แก่ตัว ขาดความร่วมมือและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ข้าพเจ้าจึงตระหนักในปัญหาที่เกิดขึ้น และพอจะมีประสบการณ์ รู้มาบ้างว่า เด็กวัยก่อนประถมศึกษา จะมีความอดทนต่อการฟังและการอยู่ในกฎระเบียบน้อย แต่เด็ก ๆ จะชอบฟังนิทาน และเล่นเกม ดังนั้น การจัดประสบการณ์ชีวิตจากการฟังนิทาน และเกมเป็นการฝึกการฟัง ความมีระเบียบวินัย เป็นคุณลักษณะทางด้านพฤติกรรมที่ช่วยให้สามารถควบคุมตนเอง และปฏิบัติตนตามกิจวัตรประจำวัน พื้นฐาน เพื่อเป็นการฝึกการฟังและการมีวินัยให้พัฒนาในระดับสูงต่อไป

1.2 กรอบแนวคิดในการวิจัย
การเล่านิทาน การฝึกพื้นฐานการฟัง มีสมาธิ
และความมีวัย มีจินตนาการ
การเล่นเกม ความอดทน และควบคุมตนเอง
ความสนุกสนาน
ตอบคำถาม
มีเหตุผล


1.3 วัตถุประสงค์
- เพื่อฝึกสมาธิการฟัง อย่างเป็นกระบวนจากกิจกรรมการฟังนิทาน และการเล่นเกม ที่ได้รับอย่างเป็นขบวนการจากการจัดกิจกรรม


1.4 ผลที่คาดหวัง
- นักเรียนในระดับชั้นอนุบาล 3 / 2 มีสมาธิในการฟัง และสามารถจินตนาการ มีความคิดอย่างเป็นระบบ กล้าแสดงออกจากการเล่นเกม และพัฒนาด้านกล้ามเนื้อใหญ่ และเล็กให้ประสานกันอย่างคล่องแคล่ว

1.5 ระยะเวลาในการดำเนินงาน 1 ภาคเรียน

1.6 การดำเนินการ
1. ดำเนินการสอนตามปรกติ
2. ทดสอบจากการปฏิบัติจริง ในระหว่างเดือน มิถุนายน – กันยายน 2550
3. จัดกิจกรรมการเล่นเกม พร้อมบันทึกพฤติกรรมจากการสังเกตและตอบคำถาม
4. จัดกิจกรรมการเล่านิทาน พร้อมบันทึกพฤติกรรมจากการสังเกต และตอบคำถาม
5. นำผลพัฒนาการทั้ง 2 กิจกรรม มาวิเคราะห์
6. ทำการประเมินผล
7. สรุปผลการทำวิจัย

1.7 ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรอิสระ คือ การจัดกิจกรรม 2 แบบ
- การเล่านิทาน
- การเล่นเกม
ตัวแปรตาม คือ การฝึกการฟัง และมีวินัยในตนเอง
- การฟัง
- วินัยและความอดทน
- ความสนุกสนานและตอบคำถามได้
1.8 ขอบเขตการวิจัย
เด็กก่อนประถมศึกษา ชั้นอนุบาลปีที่ 3 / 2 อายุระหว่าง 5 – 6 ปี โรงเรียนรุ่งโรจน์ศึกษา
จำนวน 25 คน ในภาคเรียนที่ 1 / 2550

1.9 นิยามศัพท์
การฟัง หมายถึง การรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน เป็นการรับรู้สารทางหู ในชีวิตประจำวันของเรา เราใช้เวลาในการฟัง ทั้งที่ฟังจากบุคคลโดยตรง และฟังจากจากสื่ออิเล็คทรอนิคส์ต่างๆ เพราะข่าวสาร ความรู้และศิลปะวิทยาการต่างๆ ที่มนุษย์ถ่ายทอดกันตั้งแต่สมัยโบราณจนถึง ปัจจุบัน ยังใช้วิธีการพูดอธิบายให้ฟังแม้จะมีหนังสือบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรแล้วก็ตาม
หลักการฟังที่ดี การฟังที่ดีมีหลักสำคัญคือ
1. ฟังให้ตรงตามความมุ่งหมาย โดยทั่วไปแล้หลักการฟังมีความมุ่งหมายหลัก 3 ประการ 1.1 ฟังเพื่อความเพลิดเพลิน ได้แก่ การฟังเรื่องราวที่สนุกสนาน
1.2 ฟังเพื่อความรู้ ได้แก ่ การฟังเรื่องราวทางวิชาการ ข่าวสารและข้อเสนอแนะต่าง ๆ
1.3 ฟังเพื่อให้ได้คติชีวิตหรือความจรรโลงใจ ได้แก่ การฟังที่ก่อให้เกิดสติปัญญา ความ สุขุมและ วิจารณญาณ เพื่อเชิดชูจิตใจให้สูงขึ้น ประณีตขึ้น
3. ฟังโดยมีความพร้อม ความพร้อมในที่นี้ หมายถึง ความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ และความพร้อมทางสติปัญญา ความพร้อมทางร่างกาย หมายถึง การมีสุขภาพทางร่างกายเป็นปกติไม่เหนื่อย ไม่อิดโรย ความพร้อมทางจิตใจ หมายถึง การมีพื้นฐานความรู้ความเข้าใจอย่างเพียงพอ
3.ฟังโดยมีสมาธิ หมายถึง ฟังด้วยความตั้งใจมั่น จดจ่ออยู่กับเรื่องที่ฟัง ไม่ปล่อยจิตใจให้เลื่อนลอยไปที่อื่น 4. ฟังด้วยความกระตือรือร้น ผู้ที่ฟังด้วยความกระตือรือร้นมักจะเป็นผู้ฟังที่มองเห็นประโยชน์หรือเห็นคุณค่า จึงสนใจเรื่องที่ตนจะฟัง 5. ฟังโดยไม่อคติ ผู้ฟังโดยไม่อคติต้องพิจารณาให้ละเอียดถี่ถ้วน ไม่เป็นโทษแก่ผู้อื่น
การมีวินัย หมายถึง การควบคุมตนเองของนักเรียนด้านการศึกษาเล่าเรียนการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ข้อบังคับ กฎคำสั่ง และกติกาต่าง ๆ ที่วางไว้เพื่อให้บุคคลปฏิบัติตามอันได้แก่ กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับของโรงเรียน กฎกติกาของกิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น เช่น การข้ามถนนตามสัญญาณไฟ การแต่งกายตามระเบียบ การไม่นำอาหารไปรับประทานบนห้องเรียน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ความสนุกสนาน หมายถึง ความรู้สึกที่บุคคลได้รับจากการทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การได้เล่นหรือทำกิจกรรมที่ตนเองชอบ เป็นต้น
1.10 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กมีสมาธิในการฟังและสามารถจินตนาการ มีความคิดอย่างเป็นระบบ กล้าแสดงออกจากการเล่นเกมและพัฒนาด้านกล้ามเนื้อใหญ่และเล็กให้ประสานกันอย่างคล่องแคล่ว

บทที่ 2
ทฤษฎี
- การได้ยินกับการฟังไม่เหมือนกัน แต่มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด อาจจะกล่าวได้ว่า การได้ยินเป็นกระบวนการทางสรีระ (Physiological Process) ส่วนการฟังเป็นกระบวนการ ทางจิตวิทยา (Psychological Process) 2.1 ทฤษฎี การฟัง มีผู้กล่าวว่าเป็นกระบวนการที่มีความตั้งใจหรือใจจดจ่อต่อเสียง เช่น การฟังคำบรรยายหรือเสียงพูด ซึ่งเป็นการฟังอย่างมีความหมายและจบลงด้วยความเข้าใจ ดังนั้น ทักษะการฟังจึงเหมือนกับกระบวนการสื่อสาร / การเรียนรู้ เพื่อทำความเข้าใจสารนั้น ๆ ใน การสื่อสารโดยใช้คำพูด ผู้รับต้องอาศัยทักษะในการได้ยิน และการฟังเพื่อทำความเข้าใจสารนั้น ปัญหา การสื่อสารต่างๆ อาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากผู้สื่อและผู้รับ ในแง่ของผู้สื่อคุณภาพของ ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้สื่อในการเสนอสารอย่างชัดเจนและสมเหตุผล ส่วนคุณภาพของการรับสารนั้นจะขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้รับในการถอดและทำความเข้าใจรหัสและสาร ประสิทธิภาพของการสื่อสารโดยการใช้เสียงจะขึ้นอยู่กับกระบวนการฟังปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการสื่อสารที่ใช้กระบวนการฟังนี้ อาจเกิดขึ้นจากผู้สื่อและผู้รับ ทั้งในด้านสรีระและด้านจิตใจ เช่น หูตึง มีเสียงรบกวนมากและไม่สนใจฟังหรือไม่ตั้งใจฟังเป็นต้น ดังนั้นใน การสื่อสารและการเรียนการสอนจึงต้องฝึกให้ผู้เรียนรู้จักฟัง และที่สำคัญที่สุดก็คือ ต้องฝึกให้ ผู้ฟัง รู้จักคิดล่วงหน้า เพราะการคิดจะเร็วกว่าการฟัง การอ่านและการเขียน ถ้าผู้ฟังรู้จักคิดล่วงหน้าก็จะทำให้มีเวลาในการจัดรวบรวมแนวคิดต่าง ๆ รวมทั้งเนื้อหาเรื่องราวที่ฟังและทำให้เกิดความเข้าใจในที่สุด
2.2 ทฤษฎีการฟัง ในชีวิตประจำวัน มนุษย์มีกระบวนการฟัง 6 ขั้น คือ 1) ขั้นได้ยิน 2) ขั้นแยก 3) ขั้นยอมรับ 4) ขั้นตีความ 5) ขั้นเข้าใจ
6) ขั้นเชื่อ เป็นขั้นที่อยู่กับความสามารถของผู้ฟัง ที่จะตัดสินว่าประโยคหรือสิ่งที่ฟังมานั้นมีความจริงเพียงใด เชื่อถือได้เพียงใด และยอมรับได้หรือไม่ คนเรามีประสิทธิภาพในการฟังเมื่อมีกระบวนการฟังครบทุกตอน แต่กระบวนการฟังของคนเรามีไม่เท่ากัน บางคนมีกระบวนการฟังเพียงขั้นเดียว บางคนมีกระบวนการฟังถึงขั้นที่ห้านอกจากนี้อาจอธิบายได้อีกแง่หนึ่งว่า การฟังสารที่มีประสิทธิภาพตลอดจนได้รับประสิทธิผลจากการฟังเป็นอย่างดี ผู้ฟังฟังอย่างเข้าใจฟังแล้วจับประเด็นของเรื่องได้ ตีความสารได้ประเมินค่าสารได้ เป็นต้น

6.ลักษณะการฟังที่มีประสิทธิภาพ 1) ฟังด้วยความสนใจ ไม่ว่าเรื่องที่ฟังจะเป็นเรื่องยาก สลับซับซ้อนอย่างไรก็ตาม 2) ฟังผู้พูดทุกคน โดยไม่เลือกว่าผู้พูดคนนั้นเป็นคนพูดดี หรือพูดเก่ง ให้เข้าใจความหมายที่ผู้พูดสื่อสาร
ออกมา 3) ฟังโดยจับใจความ เรื่องที่ฟัง รู้ความหมายของคำพูด และความหมายที่ผู้พูดแสดงออกมาทางอากัปกิริยา
ท่าทาง สีหน้าหรือนัยน์ตา 4) ฟังด้วยความอดทน 5) ฟังโดยสังเกตอย่างถี่ถ้วน 6) ฟังโดยไม่คิดตอบโต้ ในขณะที่ฟัง ผู้ฟังต้องฟังอย่างมีสมาธิ
7) ฟังโดยการไม่ถือการเล่น สำนวนเป็นใหญ่ 8) ฟังโดยไม่ขัดคอ 9) ฟังเพื่อพยายามหาข้อตกลงร่วมกับผู้พูด 10) ฟังโดยทำความเข้าใจให้ตรงกันกับผู้พูด ฟังด้วยจิตว่าง ปราศจากอคติต่อผู้พูด ฟังอย่างเข้าซึ้งถึงจิตผู้พูด
และพยายามเข้าใจสารของผู้พูดอย่างชัดเจน

7. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการฟัง ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้ 1) ผู้พูดมีความสามารถในการพูดได้อย่างมีประสิทธิผล 2) ผู้ฟังมีความศรัทธาต่อผู้พูด 3) ผู้ฟังเชื่อมั่นว่าการฟังเป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ 4) ผู้ฟังไม่เป็นคนใจลอยหรือมีจิตใจฟุ้งซ่านในขณะที่ฟัง 5) ผู้ฟังที่เป็นชายฟังได้ดีกว่าผู้ฟังที่เป็นหญิง 6) สถานที่ฟังโปร่ง อากาศถ่ายเทได้ดีและมีอุณหภูมิพอเหมาะสม ไม่ร้อนหรือเย็นมากเกินไป
7) ผู้ฟังใช้ภาษาเดียวกับผู้พูดผู้ฟังจึงสามารถเข้าใจถ้อยคำภาษาของผู้พูดได้ดี 8) ผู้ฟังสำเร็จการศึกษาระดับมัธยม และเคยฝึกฝนการพูดในโรงเรียนมาบ้างแล้ว 9) ผู้ฟังมีประสบการณ์ในการฟังคำอธิบายเรื่องที่มีเนื้อหายากมาบ้างแล้ว
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าเราจะมีลักษณะการฟังดังกล่าวแล้วก็ตาม สิ่งที่สำคัญคือ เราต้องมีความเชื่อมั่นว่าเราต้อง ปรับปรุงสมรรถภาพ การฟังอยู่เสมอ โดยสังเกตข้อบกพร่องในการฟังด้วย และต้องแก้ไขปรับปรุงการฟังทุก ๆครั้ง
E-Mail : Wilailuck@mfu.ac.th© ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ทฤษฎี ความมีวินัย มีผู้กล่าวว่า วินัยคือคุณลักษณะทางจิตใจ พฤติกรรม และค่านิยมประชาธิปไตย หรือ ความมีวินัย คือคุณลักษณะทางจิตใจ ละพฤติกรรมที่ช่วยให้บุคคลสามารถควบคุมตนเอง และปฏิบัติตามตนระเบียบ กฎ กติกา ของสังคม เพื่อประโยชน์ของตนเองและส่วนรวม
พฤติกรรมที่บ่งชี้ความมีวินัย ได้แก่ ความสนใจใฝ่รู้ การควบคุมตนเอง ความรับผิดชอบ ความมีเหตุผล ความซื่อสัตย์ และความขยัน ความมีวินัย
ค่านิยมประธิปไตย คือ คุณลักษณะทางจิตใจ และพฤติกรรมขิงบุคคลที่เห็นคุณค่าของตนเอง
และคุณค่าของผู้อื่น เคารพสิทธิ และป้องกันสิทธิของตนเองและผู้อื่น ด้วยความเข้าใจระหว่ากันและกัน ด้วยความสันติ
พฤติกรรมที่บ่งชี้ความเป็นธิปไตย ได้แก่การเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เคารพสิทธิ ป้องกันสิทธิของตนเอง เคารพสิทธิของผู้อื่น มีเหตุผล เคารพกติกาของสังคม ทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็น รวมทั้งมีความเสียสละ
( ดัดแปลงมาจากความคิดด้านพหุปัญญาของ การ์ดเนอร์ )

















บทที่ 3
การดำเนินการวิจัย

3.1 วิธีการดำเนินการวิจัย

ข้าพเจ้าดำเนินการสอนนักเรียนระดับชั้นอนุบาล 3 /2 ตามปรกติ แต่จะสังเกตทดสอบ และวิจัยเชิงทดลองกับผู้เรียนโดยใช้กิจกรรมการเล่านิทาน และเกม
การฝึกการฟัง และความอดทนในเด็กวัย 5 – 6 ปี เป็นการฝึกขั้นพื้นฐานบางครั้งเด็กวัยนี้ จะมีความสนใจประมาณ 10 – 15 นาที ( แผนการจัดประสบการณ์หลักสูตร ปีการศึกษา 2540 ) จากกิจกรรมต่าง ๆ และบางครั้งเด็กวัยนี้จะขาดสมาธิ ความอดทน การรอคอย ในการฟังนิทาน หรือการเล่นเกมต่าง ๆ ข้าพเจ้าจึงสนใจที่จะศึกษา เพื่อฝึกความอดทน รู้จักกาลเทศะสนใจในการฟัง และสามารถแสดงพฤติกรรมออกมาในลักษณะที่สังคมยอมรับและปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้จากการฟัง
นิทานมีรูปแบบ และกระบวนการเล่าหลากหลาย โดยการเล่าแบบปากเปล่าประกอบหุ่น โดยใช้แววตา น้ำเสียงและลีลาท่าทางประกอบ หรือการเล่านิทานแบบเล่าไปวาดไป
ขณะที่เล่าเรื่องจะวาดภาพให้สอดคล้องกับเรื่องราว เพื่อจูงใจทำให้เด็กได้ติดตามเรื่องราวด้วยความอยากรู้อยากเห็น เด็กจะสนุกมากขึ้น ถ้าในขณะที่ฟังเรื่องและดูภาพนั้น ผู้เล่ากระตุ้นให้เด็กแสดงความคิดเห็น และร่วมสร้างจินตนาการกับนิทานเรื่องนั้น ๆ ด้วย
ส่วนการจัดเกมต่าง ๆ ครูและเด็กจะร่วมกันตกลงกฎกติกาต่าง ๆ ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม การเล่นเกมจะทำให้เด็กได้เรียนรู้การทำงานกลุ่ม ความสามัคคีของกลุ่ม เน้นการมีส่วนร่วมทุกคน และตระหนักว่าผู้เล่นทุกคนมีความสำคัญในการแข่งขัน โดยไม่เน้นการแพ้ชนะ เน้นการเล่นร่วมกัน ความสามัคคี ความรับผิดชอบในการเล่น ซึ่งจะส่งผลต่อการรับฟังผู้อื่น การเป็นผู้นำและผู้ตาม
ในการศึกษาครั้งนี้ ข้าพเจ้ามีความสนใจที่ศึกษาการนำกิจกรรม การเล่านิทาน และการเล่นเกมมาจัดให้กับเด็กปฐมวัย เพื่อเปรียบเทียบว่าการเล่านิทานกับการเล่นเกม จะส่งผลต่อการรับรู้ในการฟังและมีวินัยในตนเองแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งการเล่านิทาน และการเล่นเกมมีลักษณะการดำเนินกิจกรรมต่างกัน เพื่อนำผลที่ได้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้อย่างเหมาะสม






3.2 นวัตกรรม / เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
แผนการจัดประสบการณ์กิจกรรม การเล่านิทาน และเกม

3.3 เหตุที่เลือกใช้นวัตกรรมนี้
เด็กปฐมวัย ใน 5 – 6 ปี เป็นวัยที่ควรจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับพฤติกรรม และลักษณะที่พึงประสงค์ จะเป็นพื้นฐานและสร้างระเบียบวินัยได้เป็นอย่างดี ซึ่งเด็กวัยนี้เป็นวัยอยากรู้ อยากเห็นสิ่งใหม่ ๆ ตลอดเวลา ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงนำนวัตกรรมในด้านนิทาน และเกมเข้ามาจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เพื่อพัฒนาด้านการฟัง ความมีวินัย ความอดทน กรรอคอย จากการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จากบทบาทสมมติของการเล่นเกม และการ
ฟังนิทาน

3.4 ส่วนประกอบของนวัตกรรม
เทคนิคการเล่านิทานจากสื่ออุปกรณ์และการวาดภาพประกอบ เช่น หุ่นเชิด หนังสือภาพ โดยอาศัยคำพูดและน้ำเสียง การเล่าที่เร้าใจและจูงใจ
ส่วนเกมจะเน้นการเล่นร่วมกับผู้อื่น แต่ไม่เน้นการแข่งขัน โดยให้ผู้เล่นทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกัน มีกฎกติกาการเล่นอย่างง่าย สนุกสนาน

3.5 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. แบบบันทึกการประเมินพัฒนาการ โดยการสังเกตระดับก่อนประถมศึกษา ชั้นอนุบาลปีที่ 3 / 2 ปีการศึกษา 2550 ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยสรุปพฤติกรรมที่แสดงออกเป็นระดับคุณภาพ ดี ปานกลาง และควรเสริม
2. นิทาน
3. เกม
3.6 กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เด็กระดับชั้นอนุบาล 3 โรงเรียนรุ่งโรจน์ศึกษา
3.7 กลุ่มตัวอย่าง เลือกแบบเฉพาะเจาะจงระดับชั้นอนุบาล 3 / 2

3.8 การดำเนินการทดสอบจากการปฏิบัติจริง ในระหว่างเดือน มิถุนายน – กันยายน
- จัดกิจกรรมการเล่นเกมพร้อมบันทึกพัฒนาการจากการสังเกตและการตอบคำถาม
- จัดกิจกรรมการเล่านิทานพร้อมบันทึกพัฒนาการจากการสังเกตและการตอบคำถาม




บทที่ 4 ผลการวิจัย

4.1 นำผลการพัฒนาการ ทั้ง 2 กิจกรรมมาวิเคราะห์
ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการเล่นเกม และการฟังนิทานในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 / 2
อยู่ในเกณฑ์ที่แตกต่างกัน เด็กวัยนี้ส่วนมากชอบเล่นเกมมากกว่าการนั่งฟังนิทาน ซึ่งใช้ระยะ
เวลาที่เท่ากัน ( การประเมิน 2 ครั้งต่อเดือน ใช้เวลา 4 เดือน รวม 8 ครั้ง ) ได้ผลเป็นค่าเฉลี่ยในแต่
ละด้านดังตารางต่อไปนี้ ( รวมระยะเวลา 1 ภาคเรียน )

4.1 ด้านร่างกาย

เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่ว
กระตือรือร้น
ในการเรียนรู้
ปฏิบัติตามกฎกติกา
รวม
ร้อยละ
นิทาน
489
501
507
1,497
83.17
เกม
538
529
524
1,591
88.38

4.2 ด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม

เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่ว
กระตือรือร้น
ในการเรียนรู้
ปฏิบัติตามกฎกติกา
รวม
ร้อยละ
นิทาน
517
507
503
1,527
84.83
เกม
535
542
556
1,633
90.72

4.3 ด้านสติปัญญา

เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่ว
กระตือรือร้น
ในการเรียนรู้
ปฏิบัติตามกฎกติกา
รวม
ร้อยละ
นิทาน
501
507
498
1,497
83.17
เกม
508
529
526
1,563
86.83





โรงเรียนรุ่งโรจน์ศึกษา
จากการเล่านิทานให้นักเรียนฟังและการเล่นเกม เพื่อส่งเสริมทักษะด้านการฟัง การมีวินัย ผลจากการสังเกตนักเรียนจำนวน 25 คน ของห้อง อนุบาล 3 / 2 ปรากฏผลดังนี้



นิทาน
ร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม
สติปัญญา
ดี
ปานกลาง
ควรเสริม
ดี
ปานกลาง
ควรเสริม
ดี
ปานกลาง
ควรเสริม
83
17
-
85
15
-
83
17
-
เกม
88
12
-
91
9
-
86
14
-





จากกราฟ แสดงให้เห็นว่า พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ของเด็กในระดับก่อนประถมศึกษา ชั้นอนุบาลปีที่ 3 / 2 ในการเล่นเกมจะสูงกว่าการฟังนิทาน





บทที่ 5
สรุปผล
5.1 สรุปผลการวิจัย
นักเรียน : ผลในการวิจัยเชิงทดลองของเด็ก ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 / 2 ปรากฏว่า จากการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมทักษะด้านการฟัง การมีวินัย จากการเล่านิทานและเล่นเกม พบว่านักเรียนมีทักษะทางด้านการฟังที่ดีขึ้น มีระเบียบวินัย และมีความอดทน เมื่อต้องรอคอย รู้จักการแบ่งปัน และความสามัคคีในกลุ่ม ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี นักเรียนสนุกสนานตื่นเต้น เมื่อมีกิจกรรมการเล่นเกม หรือเล่านิทาน นักเรียนมีความสุขเมื่อได้เสริมแรง รับคำชมเชยจากครูและเพื่อนๆ โดยเฉพาะทำให้ส่งผลดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
ครู : ได้ทราบผลการพัฒนาทักษะทางด้านการฟัง การมีวินัยจากกิจกรรมที่จัดใช้เชิงทดลอง
จนได้แนวคิดและเข้าใจปัญหาของนักเรียนที่ขาดทักษะด้านการฟัง และขาดระเบียบวินัย

5.2 ข้อเสนอแนะ
1. จากการวิจัยในครั้งนี้ไม่ประสบความสำเร็จเต็มสมบูรณ์แบบ มีนักเรียน 3 คน ที่ยังขาดทักษะทางด้านการฟัง และการมีระเบียบวินัย บางครั้งขาดความเชื่อมั่นในการทำกิจกรรม และไม่อยู่ในกฎกติกา
2. ควรปรับปรุงกระบวนการและวิธีการ เพื่อให้เหมาะสมกับเด็กกลุ่มนี้














แบบบันทึกพัฒนาการจากการสังเกตและการตอบคำถาม
กิจกรรมการฟังนิทาน ( ด้านร่างกาย )
ครั้งที่ ............ วันที่ ............... เดือน ..........................................พ.ศ. .....

ที่

ชื่อ
รายการประเมิน
เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่ว
กระตือรือร้น
ในการเรียนรู้
ปฏิบัติตามกฎกติกา
1
ด.ช.ชยพล พันธาสุ



2
ด.ญ.นภัสรา แววดี



3
ด.ญ.พรปวีณ์ แย้มคล้าย



4
ด.ญ.ภัทรพร สุรวิทยาพร



5
ด.ช.อธิณัฐ เดชเทวัญดำรง



6
ด.ช.พงศธร พูลศรี



7
ด.ญ.ชวัลญา โพธิ์คุ้ม



8
ด.ช.ณัฐดนัย กลิ่นชั้น



9
ด.ช.เกียรติภูมิ แย้มกลีบ



10
ด.ช.คณาวุฒิ พุ่มพฤกษ์



11
ด.ช.วัชรพล นพคุณ



12
ด.ช.ยุทธ์พงศ์ พุกเผื่อน



13
ด.ช.ชัชชัย กมลรัตนะกูล



14
ด.ช.นนทศักดิ์ เพื่อมกระโทก



15
ด.ช.ภัทรพงษ์ ซิงห์



16
ด.ช.ณภัทร จิระดำรงชัย



17
ด.ช.ณัฐนันท์ ดีพลกรัง



18
ด.ญ.อัจจิมา กราพงศ์



19
ด.ช.จิรายุทธ ภู่ธงแก้ว



20
ด.ญ.ธิฆัมพร บำรุงศรี



21
ด.ญ.ชลลดา ทัพภวิมล



22
ด.ญ.วรรณรวี หมายนาค



23
ด.ช.ธีระวัฒน์ สานุศิษย์



24
ด.ช.จักพรรดิ์ พงศ์มาลี



25
ด.ช.ทีปพัฒน์ พิศดวงดาว



รวม



ร้อยละ



เกณฑ์การประเมิน 3 หมายถึง ( ระดับดี 80 - 100 )
2 หมายถึง ( ปานกลาง 65 –79 )
1 หมายถึง ( ควรเสริม 40 – 64 )
แบบบันทึกพัฒนาการจากการสังเกตและการตอบคำถาม
กิจกรรมการฟังนิทาน ( ด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม )
ครั้งที่ ............ วันที่ ............... เดือน ..........................................พ.ศ. .....

ที่

ชื่อ
รายการประเมิน
เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่ว
กระตือรือร้น
ในการเรียนรู้
ปฏิบัติตามกฎกติกา
1
ด.ช.ชยพล พันธาสุ



2
ด.ญ.นภัสรา แววดี



3
ด.ญ.พรปวีณ์ แย้มคล้าย



4
ด.ญ.ภัทรพร สุรวิทยาพร



5
ด.ช.อธิณัฐ เดชเทวัญดำรง



6
ด.ช.พงศธร พูลศรี



7
ด.ญ.ชวัลญา โพธิ์คุ้ม



8
ด.ช.ณัฐดนัย กลิ่นชั้น



9
ด.ช.เกียรติภูมิ แย้มกลีบ



10
ด.ช.คณาวุฒิ พุ่มพฤกษ์



11
ด.ช.วัชรพล นพคุณ



12
ด.ช.ยุทธ์พงศ์ พุกเผื่อน



13
ด.ช.ชัชชัย กมลรัตนะกูล



14
ด.ช.นนทศักดิ์ เพื่อมกระโทก



15
ด.ช.ภัทรพงษ์ ซิงห์



16
ด.ช.ณภัทร จิระดำรงชัย



17
ด.ช.ณัฐนันท์ ดีพลกรัง



18
ด.ญ.อัจจิมา กราพงศ์



19
ด.ช.จิรายุทธ ภู่ธงแก้ว



20
ด.ญ.ธิฆัมพร บำรุงศรี



21
ด.ญ.ชลลดา ทัพภวิมล



22
ด.ญ.วรรณรวี หมายนาค



23
ด.ช.ธีระวัฒน์ สานุศิษย์



24
ด.ช.จักพรรดิ์ พงศ์มาลี



25
ด.ช.ทีปพัฒน์ พิศดวงดาว



รวม



ร้อยละ



เกณฑ์การประเมิน 3 หมายถึง ( ระดับดี 80 - 100 )
2 หมายถึง ( ปานกลาง 65 –79 )
1 หมายถึง ( ควรเสริม 40 – 64 )
แบบบันทึกพัฒนาการจากการสังเกตและการตอบคำถาม
กิจกรรมการฟังนิทาน ( ด้านสติปัญญา )
ครั้งที่ ............ วันที่ ............... เดือน ..........................................พ.ศ. .....

ที่

ชื่อ
รายการประเมิน
เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่ว
กระตือรือร้น
ในการเรียนรู้
ปฏิบัติตามกฎกติกา
1
ด.ช.ชยพล พันธาสุ



2
ด.ญ.นภัสรา แววดี



3
ด.ญ.พรปวีณ์ แย้มคล้าย



4
ด.ญ.ภัทรพร สุรวิทยาพร



5
ด.ช.อธิณัฐ เดชเทวัญดำรง



6
ด.ช.พงศธร พูลศรี



7
ด.ญ.ชวัลญา โพธิ์คุ้ม



8
ด.ช.ณัฐดนัย กลิ่นชั้น



9
ด.ช.เกียรติภูมิ แย้มกลีบ



10
ด.ช.คณาวุฒิ พุ่มพฤกษ์



11
ด.ช.วัชรพล นพคุณ



12
ด.ช.ยุทธ์พงศ์ พุกเผื่อน



13
ด.ช.ชัชชัย กมลรัตนะกูล



14
ด.ช.นนทศักดิ์ เพื่อมกระโทก



15
ด.ช.ภัทรพงษ์ ซิงห์



16
ด.ช.ณภัทร จิระดำรงชัย



17
ด.ช.ณัฐนันท์ ดีพลกรัง



18
ด.ญ.อัจจิมา กราพงศ์



19
ด.ช.จิรายุทธ ภู่ธงแก้ว



20
ด.ญ.ธิฆัมพร บำรุงศรี



21
ด.ญ.ชลลดา ทัพภวิมล



22
ด.ญ.วรรณรวี หมายนาค



23
ด.ช.ธีระวัฒน์ สานุศิษย์



24
ด.ช.จักพรรดิ์ พงศ์มาลี



25
ด.ช.ทีปพัฒน์ พิศดวงดาว



รวม



ร้อยละ



เกณฑ์การประเมิน 3 หมายถึง ( ระดับดี 80 - 100 )
2 หมายถึง ( ปานกลาง 65 –79 )
1 หมายถึง ( ควรเสริม 40 – 64 )
แบบบันทึกพัฒนาการจากการสังเกตและการตอบคำถาม
กิจกรรมการเล่นเกม ( ด้านร่างกาย )
ครั้งที่ ............ วันที่ ............... เดือน ..........................................พ.ศ. .....

ที่

ชื่อ
รายการประเมิน
เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่ว
กระตือรือร้น
ในการเรียนรู้
ปฏิบัติตามกฎกติกา
1
ด.ช.ชยพล พันธาสุ



2
ด.ญ.นภัสรา แววดี



3
ด.ญ.พรปวีณ์ แย้มคล้าย



4
ด.ญ.ภัทรพร สุรวิทยาพร



5
ด.ช.อธิณัฐ เดชเทวัญดำรง



6
ด.ช.พงศธร พูลศรี



7
ด.ญ.ชวัลญา โพธิ์คุ้ม



8
ด.ช.ณัฐดนัย กลิ่นชั้น



9
ด.ช.เกียรติภูมิ แย้มกลีบ



10
ด.ช.คณาวุฒิ พุ่มพฤกษ์



11
ด.ช.วัชรพล นพคุณ



12
ด.ช.ยุทธ์พงศ์ พุกเผื่อน



13
ด.ช.ชัชชัย กมลรัตนะกูล



14
ด.ช.นนทศักดิ์ เพื่อมกระโทก



15
ด.ช.ภัทรพงษ์ ซิงห์



16
ด.ช.ณภัทร จิระดำรงชัย



17
ด.ช.ณัฐนันท์ ดีพลกรัง



18
ด.ญ.อัจจิมา กราพงศ์



19
ด.ช.จิรายุทธ ภู่ธงแก้ว



20
ด.ญ.ธิฆัมพร บำรุงศรี



21
ด.ญ.ชลลดา ทัพภวิมล



22
ด.ญ.วรรณรวี หมายนาค



23
ด.ช.ธีระวัฒน์ สานุศิษย์



24
ด.ช.จักพรรดิ์ พงศ์มาลี



25
ด.ช.ทีปพัฒน์ พิศดวงดาว



รวม



ร้อยละ



เกณฑ์การประเมิน 3 หมายถึง ( ระดับดี 80 - 100 )
2 หมายถึง ( ปานกลาง 65 –79 )
1 หมายถึง ( ควรเสริม 40 – 64 )
แบบบันทึกพัฒนาการจากการสังเกตและการตอบคำถาม
กิจกรรมการเล่นเกม ( ด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม )
ครั้งที่ ............ วันที่ ............... เดือน ..........................................พ.ศ. .....

ที่

ชื่อ
รายการประเมิน
เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่ว
กระตือรือร้น
ในการเรียนรู้
ปฏิบัติตามกฎกติกา
1
ด.ช.ชยพล พันธาสุ



2
ด.ญ.นภัสรา แววดี



3
ด.ญ.พรปวีณ์ แย้มคล้าย



4
ด.ญ.ภัทรพร สุรวิทยาพร



5
ด.ช.อธิณัฐ เดชเทวัญดำรง



6
ด.ช.พงศธร พูลศรี



7
ด.ญ.ชวัลญา โพธิ์คุ้ม



8
ด.ช.ณัฐดนัย กลิ่นชั้น



9
ด.ช.เกียรติภูมิ แย้มกลีบ



10
ด.ช.คณาวุฒิ พุ่มพฤกษ์



11
ด.ช.วัชรพล นพคุณ



12
ด.ช.ยุทธ์พงศ์ พุกเผื่อน



13
ด.ช.ชัชชัย กมลรัตนะกูล



14
ด.ช.นนทศักดิ์ เพื่อมกระโทก



15
ด.ช.ภัทรพงษ์ ซิงห์



16
ด.ช.ณภัทร จิระดำรงชัย



17
ด.ช.ณัฐนันท์ ดีพลกรัง



18
ด.ญ.อัจจิมา กราพงศ์



19
ด.ช.จิรายุทธ ภู่ธงแก้ว



20
ด.ญ.ธิฆัมพร บำรุงศรี



21
ด.ญ.ชลลดา ทัพภวิมล



22
ด.ญ.วรรณรวี หมายนาค



23
ด.ช.ธีระวัฒน์ สานุศิษย์



24
ด.ช.จักพรรดิ์ พงศ์มาลี



25
ด.ช.ทีปพัฒน์ พิศดวงดาว



รวม



ร้อยละ



เกณฑ์การประเมิน 3 หมายถึง ( ระดับดี 80 - 100 )
2 หมายถึง ( ปานกลาง 65 –79 )1
3 หมายถึง ( ควรเสริม 40 – 64 )
แบบบันทึกพัฒนาการจากการสังเกตและการตอบคำถาม
กิจกรรมการเล่นเกม ( ด้านสติปัญญา )
ครั้งที่ ............ วันที่ ............... เดือน ..........................................พ.ศ. .....

ที่

ชื่อ
รายการประเมิน
เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่ว
กระตือรือร้น
ในการเรียนรู้
ปฏิบัติตามกฎกติกา
1
ด.ช.ชยพล พันธาสุ



2
ด.ญ.นภัสรา แววดี



3
ด.ญ.พรปวีณ์ แย้มคล้าย



4
ด.ญ.ภัทรพร สุรวิทยาพร



5
ด.ช.อธิณัฐ เดชเทวัญดำรง



6
ด.ช.พงศธร พูลศรี



7
ด.ญ.ชวัลญา โพธิ์คุ้ม



8
ด.ช.ณัฐดนัย กลิ่นชั้น



9
ด.ช.เกียรติภูมิ แย้มกลีบ



10
ด.ช.คณาวุฒิ พุ่มพฤกษ์



11
ด.ช.วัชรพล นพคุณ



12
ด.ช.ยุทธ์พงศ์ พุกเผื่อน



13
ด.ช.ชัชชัย กมลรัตนะกูล



14
ด.ช.นนทศักดิ์ เพื่อมกระโทก



15
ด.ช.ภัทรพงษ์ ซิงห์



16
ด.ช.ณภัทร จิระดำรงชัย



17
ด.ช.ณัฐนันท์ ดีพลกรัง



18
ด.ญ.อัจจิมา กราพงศ์



19
ด.ช.จิรายุทธ ภู่ธงแก้ว



20
ด.ญ.ธิฆัมพร บำรุงศรี



21
ด.ญ.ชลลดา ทัพภวิมล



22
ด.ญ.วรรณรวี หมายนาค



23
ด.ช.ธีระวัฒน์ สานุศิษย์



24
ด.ช.จักพรรดิ์ พงศ์มาลี



25
ด.ช.ทีปพัฒน์ พิศดวงดาว



รวม



ร้อยละ



เกณฑ์การประเมิน 3 หมายถึง ( ระดับดี 80 - 100 )
2 หมายถึง ( ปานกลาง 65 –79 )
1 หมายถึง ( ควรเสริม 40 – 64 )
กลุ่มผู้ถูกวิจัยฟังนิทานแบบเล่าไปวาดไป



























ร่วมเล่านิทาน














ยกมือร่วมตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น

























ฟังนิทาน และร่วมแสดงความคิดเห็น














ร่วมเล่านิทาน








































กลุ่มผู้ถูกวิจัย ฟังกติกา และร่วมเล่นเกม















































































































เล่นเกมร่วมกัน








































































คำนำ

งานวิเคราะห์นวัตกรรมที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ จัดทำขึ้น เพื่อเป็นข้อเสนอแนะ และ
เป็นแนวทางให้กับผู้สนใจนวัตกรรมชิ้นนี้ นวัตกรรมชิ้นนี้ถึงแม้จะใช้แล้วและไม่ประสบ
ผลสำเร็จเท่าที่ควรแต่ก็เป็นนวัตกรรมที่สามารถใช้ได้กับเด็กวัยนี้ดี และยังสามารถนำไป
บูรณาการใช้กับเด็กในระดับชั้นที่สูงขึ้นไปได้อีก


นางอำไพ พุฒคง
ผู้วิเคราะห์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น